Category Archives: ตำบลไชโย

ตำบลไชโย

ตำบลไชโย เป็นตำบลหนึ่งใน  อำเภอไชโยตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอำเภอเมืองอ่างทอง ห่างจากอำเภอเมืองอ่างทองทางบกประมาณ 15 กิโลเมตร ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)

ตำบลไชโย
ตำบลไชโย
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)
 ลอนผนังบ้าน พียู โฟม (House Wall Panel PU Foam)

อำเภอไชโย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอ่างทอง

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

อำเภอไชโยตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอำเภอเมืองอ่างทอง ห่างจากอำเภอเมืองอ่างทองทางบกประมาณ 15 กิโลเมตร และทางน้ำประมาณ 20 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอต่าง ๆ ในจังหวัดอ่างทองและจังหวัดใกล้เคียงดังนี้

  • วันที่ 30 ธันวาคม 2516 เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลจรเข้ร้อง เพื่อความเหมาะสมในการทะนุบำรุงท้องถิ่น และบริหารกิจการของท้องถิ่นตามสภาพการขยายความเจริญของชุมชน[5] โดยเพิ่มพื้นที่บางส่วนของตำบลไชยภูมิ บางส่วนของตำบลหลักฟ้า บางส่วนของตำบลชัยฤทธิ์ และบางส่วนของตำบลชะไว
  • วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลจรเข้ร้อง และสุขาภิบาลเกษไชโย เป็นเทศบาลตำบลจรเข้ร้อง และเทศบาลตำบลเกษไชโย ตามลำดับ[6]
  • วันที่ 1 กรกฎาคม 2547 ยุบสภาตำบลไชยภูมิ สภาตำบลชะไว สภาตำบลจรเข้ร้อง สภาตำบลหลักฟ้า สภาตำบลตรีณรงค์ รวมกับเทศบาลตำบลจรเข้ร้อง และยุบสภาตำบลไชโย รวมกับเทศบาลตำบลเกษไชโย[7]
  • วันที่ 30 ตุลาคม 2550 เปลี่ยนชื่อเทศบาลตำบลจรเข้ร้อง เป็นเทศบาลตำบลไชโย

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

อำเภอไชโยแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 9 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งออกเป็นหมู่บ้าน รวม 51 หมู่บ้าน ได้แก่

1. จรเข้ร้อง (Chorakhe Rong) 7 หมู่บ้าน 6. ไชโย (Chaiyo) 7 หมู่บ้าน
2. ไชยภูมิ (Chaiyaphum) 8 หมู่บ้าน 7. หลักฟ้า (Lak Fa) 3 หมู่บ้าน
3. ชัยฤทธิ์ (Chaiyarit) 6 หมู่บ้าน 8. ชะไว (Chawai) 3 หมู่บ้าน
4. เทวราช (Thewarat) 7 หมู่บ้าน 9. ตรีณรงค์ (Tri Narong) 3 หมู่บ้าน
5. ราชสถิตย์ (Ratchasathit) 7 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

ท้องที่อำเภอไชโยประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลไชโย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลจรเข้ร้อง ตำบลไชยภูมิ ตำบลหลักฟ้า ตำบลชะไว และตำบลตรีณรงค์ทั้งตำบล รวมทั้งบางส่วนของตำบลชัยฤทธิ์
  • เทศบาลตำบลเกษไชโย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลไชโยทั้งตำบล (สุขาภิบาลเกษไชโยเดิม)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลชัยฤทธิ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชัยฤทธิ์ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลไชโย)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลเทวราช ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเทวราชทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลราชสถิตย์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลราชสถิตย์ทั้งตำบล

ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ[แก้]

มีแหล่งน้ำตามธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านพื้นที่อำเภอเป็นระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร ลำน้ำแดง หนองสามง่ามใหญ่ และหนองสามง่ามเล็ก

เศรษฐกิจ[แก้]

  • อาชีพหลัก ได้แก่ ทำนา ทำสวน รับจ้าง ค้าขาย
  • อาชีพเสริม ได้แก่ เลี้ยงสัตว์ ประมง

สถานศึกษา[แก้]

การคมนาคม[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]