Category Archives: ตำบลบางนางลี่

ตำบลบางนางลี่

ตำบลบางนางลี่ เป็นตำบลหนึ่งใน อำเภออัมพวา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งอำเภออัมพวาเป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุดของจังหวัดสมุทรสงคราม โดยมีประวัติเมื่อก่อนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ มีผู้คนมาตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ไม่มากนักต่อมาเมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ปี พ.ศ. 2310 ผู้คนอพยพมาอยู่กันมากขึ้น เพราะมีทำเลเหมาะแก่การเพาะปลูกและเป็นที่อยู่อาศัย

ตำบลบางนางลี่
ตำบลบางนางลี่
แพนเนล พียู โฟม (Panel PU Foam)
แพนเนล พียู โฟม (Panel PU Foam)
แพนเนล พียู โฟม (Panel PU Foam)
แพนเนล พียู โฟม (Panel PU Foam)
แพนเนล พียู โฟม (Panel PU Foam)
แพนเนล พียู โฟม (Panel PU Foam)
แพนเนล พียู โฟม (Panel PU Foam)
แพนเนล พียู โฟม (Panel PU Foam)
แพนเนล พียู โฟม (Panel PU Foam)
แพนเนล พียู โฟม (Panel PU Foam)
ตำบลบางนางลี่
ตำบลบางนางลี่
ตำบลบางนางลี่ เป็นตำบลหนึ่งใน อำเภออัมพวา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรสงคราม  ซึ่งอำเภออัมพวาเป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุดของจังหวัดสมุทรสงคราม
ตำบลบางนางลี่ เป็นตำบลหนึ่งใน อำเภออัมพวา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรสงคราม  ซึ่งอำเภออัมพวาเป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุดของจังหวัดสมุทรสงคราม

โดยมีประวัติเมื่อก่อนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ มีผู้คนมาตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ไม่มากนักต่อมาเมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ปี พ.ศ. 2310 ผู้คนอพยพมาอยู่กันมากขึ้น เพราะมีทำเลเหมาะแก่การเพาะปลูกและเป็นที่อยู่อาศัย ตามหลักฐานที่พอจะค้นคว้าได้นั้น ปรากฏว่า ทึ่ว่าการอำเภออัมพวาในอดีตได้อาศัยศาลาการเปรียญของวัดอัมพวันเจติยาราม ต่อมาได้ย้ายข้ามคลองอัมพวาไปอยู่ที่ศาลาการเปรียญวัดท้ายตลาด ตำบลบางกะพ้อม ซึ่งอยู่ห่างจากสถานที่เดิมไปประมาณ 400 เมตร

และได้ย้ายมาอยู่ที่ริมฝั่งแม่น้ำแม่กลองมาจนทุกวันนี้ และคงใช้ชื่ออัมพวา เพราะบริเวณนี้เดิมเป็นเรือกสวน มีต้นมะพร้าว และต้นมะม่วงอยู่เป็นจำนวนมาก ต้นมะพร้าวนั้นเป็นพืชหลักของสมุทรสงครามและมีอยู่ทั่วไป ส่วนต้นมะม่วงมีการปลูกอยู่อย่างหนาแน่นที่บริเวณนี้ จึงใช้ชื่ออัมพวามาตลอด[1] ปัจจุบันมี นายยุทธนา โพธิวิหค ดำรงตำแหน่งเป็นนายอำเภออัมพวาคนปัจจุบัน[2]

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

อำเภออัมพวามีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

อำเภออัมพวาแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 12 ตำบล 96 หมู่บ้าน ได้แก่

1. อัมพวา (Amphawa)
2. สวนหลวง (Suan Luang) 15 หมู่บ้าน
3. ท่าคา (Tha Kha) 12 หมู่บ้าน
4. วัดประดู่ (Wat Pradu) 10 หมู่บ้าน
5. เหมืองใหม่ (Mueang Mai) 10 หมู่บ้าน
6. บางช้าง (Bang Chang) 9 หมู่บ้าน
7. แควอ้อม (Khwae Om) 8 หมู่บ้าน
8. ปลายโพงพาง (Plai Phongphang) 9 หมู่บ้าน
9. บางแค (Bang Khae) 7 หมู่บ้าน
10. แพรกหนามแดง (Phraek Nam Daeng) 6 หมู่บ้าน
11. ยี่สาร (Yi San) 5 หมู่บ้าน
12. บางนางลี่ (Bang Nang Li) 5 หมู่บ้าน
 แผนที่

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

ท้องที่อำเภออัมพวาประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 13 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลอัมพวา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอัมพวาทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลเหมืองใหม่ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลเหมืองใหม่
  • เทศบาลตำบลสวนหลวง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสวนหลวงทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลท่าคา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าคาทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลวัดประดู่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวัดประดู่ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลเหมืองใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเหมืองใหม่ (นอกเขตเทศบาลตำบลเหมืองใหม่)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบางช้าง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางช้างทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลแควอ้อม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแควอ้อมทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลปลายโพงพาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลปลายโพงพางทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบางแค ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางแคทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลแพรกหนามแดง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแพรกหนามแดงทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลยี่สาร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลยี่สารทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบางนางลี่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางนางลี่ทั้งตำบล

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

อำเภออัมพวามีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้