Category Archives: เขตหนองจอก

เขตหนองจอก

เขตหนองจอก  เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุด สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท้องทุ่งและเกษตรกรรม มีลำคลองไหลผ่านหลายสาย ปัจจุบันเป็นที่อยู่อาศัยของชาวไทยมุสลิมบางส่วนและมีมัสยิดอยู่เป็นจำนวนมาก

เขตหนองจอก 
เขตหนองจอก
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 หลังคา สแนปล็อก 300
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 หลังคา สแนปล็อก 300
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 หลังคา สแนปล็อก 300
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 หลังคา สแนปล็อก 300
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 หลังคา สแนปล็อก 300
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 หลังคา สแนปล็อก 300
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 หลังคา สแนปล็อก 300
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 หลังคา สแนปล็อก 300
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 หลังคา สแนปล็อก 300

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตหนองจอกตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของกรุงเทพมหานคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ประวัติศาสตร์[แก้]

เดิมเขตหนองจอกมีฐานะเป็น อำเภอหนองจอก ได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2440[3] ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กลุ่มผู้ที่มาตั้งถิ่นฐานพวกแรก ๆ เป็นชาวไทยมุสลิมที่อพยพมาจากหัวเมืองภาคใต้ โดยตั้งชุมชนตามแนวคลองแสนแสบซึ่งได้มีการขุดลอกขยายคลองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว[3] รวมทั้งชาวมอญ จีน ลาว เขมร และอีก 5 ปีต่อมา (พ.ศ. 2445) อำเภอหนองจอกก็ได้มาขึ้นอยู่กับเมืองมีนบุรีซึ่งเป็นหัวเมืองที่ตั้งขึ้นใหม่ในมณฑลกรุงเทพ[4]

ต่อมา เกิดสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณของทางราชการ ใน พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีจึงถูกยุบรวมเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดพระนคร ส่วนอำเภอหนองจอกถูกโอนไปขึ้นกับจังหวัดฉะเชิงเทรา[5] แต่เนื่องจากความไม่สะดวกในการเดินทางและการติดต่อระหว่างกัน ในปีถัดมา (พ.ศ. 2475) ทางราชการจึงได้ย้ายอำเภอหนองจอกมาเป็นเขตการปกครองในจังหวัดพระนคร[6]

จนกระทั่งใน พ.ศ. 2514 มีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี[7] และในปีถัดมา (พ.ศ. 2515) ก็มีประกาศคณะปฏิวัติเปลี่ยนรูปแบบการบริหารเมืองหลวงใหม่อีกครั้งจากนครหลวงกรุงเทพธนบุรีเป็นกรุงเทพมหานคร แบ่งพื้นที่ออกเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล[7] อำเภอหนองจอกจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตหนองจอก นับแต่นั้น

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขตหนองจอกแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 8 แขวง ได้แก่

หมาย
เลข
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2565)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2565)
แผนที่
1.
กระทุ่มราย Krathum Rai
38.132
40,649
1,066.01
แผนที่
2.
หนองจอก Nong Chok
29.992
23,724
791.01
3.
คลองสิบ Khlong Sip
30.849
9,404
304.84
4.
คลองสิบสอง Khlong Sip Song
38.867
12,025
309.39
5.
โคกแฝด Khok Faet
22.524
34,709
1,540.98
6.
คู้ฝั่งเหนือ Khu Fang Nuea
17.750
18,075
1,018.31
7.
ลำผักชี Lam Phak Chi
33.358
33,026
990.05
8.
ลำต้อยติ่ง Lam Toiting
24.789
9,755
393.52
ทั้งหมด
236.261
181,367
767.66

ประชากร[แก้]

การคมนาคม[แก้]

เส้นทางถนนสายหลักในพื้นที่เขตหนองจอก ได้แก่

ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่

นอกจากนั้นยังมีลำคลองสายต่างๆ เป็นเส้นทางคมนาคมทางน้ำที่สำคัญมาแต่โบราณอีกด้วย เนื่องจากลักษณะทางภูมิศาสตร์แต่เดิมมาของพื้นที่ ตั้งแต่ก่อนที่จะมีการจัดรูปการบริหารเป็นเขตหนองจอก มีลำคลองขุดเช่น คลองเก้า คลองสิบ จนถึงคลองสิบสี่ขุดผ่าน และมีคลองลัดตัดเชื่อมระหว่างลำคลองสายหลักในลักษณะก้างปลาอย่างทั่วถึง

สถานที่สำคัญ[แก้]

  1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  2. บางกอกอารีนา
  3. ศูนย์บริหารกิจการศาสนาอิสลามแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ คลองเก้า ซึ่งเป็นที่ตั้งที่ทำการของทั้งสำนักจุฬาราชมนตรี สำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการอิสลามกรุงเทพมหานคร
  4. สถานที่ท่องเที่ยว อาทิ ตลาดเก่าร้อยปี วัดสีชมพู แหล่งเที่ยวชมค้างคาวแม่ไก่

 แขวง กระทุ่มราย แผ่นใส สีใสกระจก

แขวง คลองสิบสอง หลังคา แซนวิช พียูโฟม

ac

แขวง คู้ฝั่งเหนือ หลังคา พียู โฟม

แขวง ลำต้อยติ่ง แผ่นกันสาด โปร่งแสง

แขวง หนองจอก หลังคา พียู ลายไม้

แขวง โคกแฝด แผ่นใส สีขาวขุ่น