Category Archives: เขตสะพานสูง

เขตสะพานสูง

เขตสะพานสูง เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร)สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย

LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 เขตสะพานสูง
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 เขตสะพานสูง Khet
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 ลอนผนัง 620-25
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 ลอนผนัง 620-25
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 ลอนผนัง 620-25
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 ลอนผนัง 620-25
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 ลอนผนัง 620-25
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 ลอนผนัง 620-25
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 ลอนผนัง 620-25
LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771 ลอนผนัง 620-25

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตสะพานสูงตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

ในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 กรุงเทพมหานครได้ประกาศจัดตั้งแขวงราษฎร์พัฒนาและแขวงทับช้างแยกจากพื้นที่แขวงสะพานสูง โดยมีผลบังคับใช้ในวันเดียวกัน ส่งผลให้เขตสะพานสูงในปัจจุบันแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง[14] ได้แก่

หมาย
เลข
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2565)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2565)
แผนที่
1.
สะพานสูง Saphan Sung
8.147
27,538
3,380.14
แผนที่
2.
ราษฎร์พัฒนา Rat Phatthana
9.009
42,392
4,705.52
3.
ทับช้าง Thap Chang
10.968
26,281
2,396.15
ทั้งหมด
28.124
96,211
3,420.96

ประชากร[แก้]

ตราสัญลักษณ์ประจำเขต[แก้]

ตราสัญลักษณ์ประจำเขตสะพานสูง มีลักษณะเป็นตรารูปวงกลม มีองค์ประกอบสำคัญต่างๆ และความหมายดังนี้

  • พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณบนก้อนเมฆแบบด้านตรง เป็นสัญลักษณ์ของกรุงเทพมหานครซึ่งได้จำลองจากภาพฝีพระหัตถ์ของพลเอกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ซึ่งได้ทรงเขียนทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๐ พรรษาของพระองค์ โดยพลเอกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ได้ให้ความหมายแก่ภาพฝีพระหัตถ์นี้ว่า หมายถึง การบำบัดทุกข์ บำรุงสุขแก่ปวงประชาและทายาทของพระองค์ท่านได้ทรงอนุมัติให้กรุงเทพมหานครจำลองภาพไปเป็นเครื่องหมาย เพื่อให้สมเกียรติกับความหมายที่พระองค์ท่านได้ประทานไว้แต่ก่อน และกรุงเทพมหานครได้ใช้ภาพนี้เป็นเครื่องหมายต้นแบบตราเครื่องหมายของกรุงเทพมหานคร
  • สะพาน เป็นเอกลักษณ์ของเขตสะพานสูง ซึ่งมีลำคลองมากมายการสัญจรใช้ทางน้ำเป็นหลัก จึงจำเป็นต้องสร้างสะพานทรงสูงเข้าไว้ เพื่อให้เรือน้อยใหญ่ลอดผ่านใต้สะพานได้สะดวก รวมถึงประชาชนสามารถใช้สะพานเดินข้ามคลองไปมาหาสู่กันได้ทั้งสองฝั่งคลองอีกทางหนึ่ง
  • น้ำ หมายถึง เขตสะพานสูงเป็นเขตที่มีคลองมากมาย และประชาชนมีความผูกพันกับคลอง
  • ดอกไม้ หมายถึง ความเป็นธรรมชาติ และความร่มรื่น
  • สีเขียว หมายถึง สิ่งแวดล้อมที่ดี ปราศจากมลพิษ
  • สีส้ม หมายถึงเป็นสีประจำสำนักงานเขตสะพานสูง[16]

การคมนาคม[แก้]

ในพื้นที่เขตสะพานสูงมีทางสายหลัก ได้แก่

ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่

ถนนกาญจนาภิเษก แพนเนล พียู

ถนนรามคำแหง หลังคา พียู ลายไม้

ถนนเคหะร่มเกล้า แผ่นใส สีขาวขุ่น

แขวง ทับช้าง แผ่นใส สีใสกระจก

 แขวง ราษฎร์พัฒนา หลังคา แซนวิช พียูโฟม

ac

แขวง สะพานสูง หลังคา พียู โฟม